messager
insert_drive_file ข้อมูลหน่วยงาน
ข้อมูลหน่วยงาน
info ข้อมูลสภาพทั่วไป
องค์การบริหารส่วนตำบลนาปัง1.เนื้อที่ ตำบลนาปัง มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 11.659 ตารางกิโลเมตร หรือ 7,287 ไร่ 2.ภูมิประเทศ ลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไปของตำบลนาปัง เป็นที่ราบลุ่มริมฝั่งแม่น้ำน่าน ลักษณะพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาด มีความลาดชันประมาณร้อยละ 2 – 5 ทางด้านตะวันออก และลดต่ำลงไปทางทิศตะวันตก ริมฝั่งแม่น้ำน่าน มีลำคลองธรรมชาติ คือ ลำห้วยน้ำแก่น ไหลผ่านตำบลทางทิศตะวันออกไปทิศตะวันตกลงสู่แม่น้ำน่าน การใช้ประโยชน์ที่ดินของตำบลนาปังกว่าร้อยละ 70 เป็นพื้นที่ทำการเกษตร ซึ่งส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ทำนา ทำไร่ ไม้ผล และพืชผัก ปลูกกระจายทางตอนเหนือและตอนกลางของพื้นที่ตำบล 3.จำนวนหมู่บ้าน ตำบลนาปัง ประกอบด้วย 6 หมู่บ้าน 3.1 จำนวนหมู่บ้านในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลนาปัง เต็มทั้งหมู่บ้านมี 6 หมู่บ้าน หมู่ที่ ชื่อหมู่บ้าน ผู้นำหมู่บ้าน ตำแหน่ง 1 บ้านน้ำลัด นายวิทูรย์ สิงห์ดี (ผู้ใหญ่บ้าน) 2 บ้านนาปัง นายสุพิน สีมาก (ผู้ใหญ่บ้าน) 3 บ้านม่วงใหม่ นายเดชา หลวงฤทธิ์ (ผู้ใหญ่บ้าน) 4 บ้านก้อดแก้ว นายเนียร หลวงฤทธิ์ (ผู้ใหญ่บ้าน) 5 บ้านสบแก่น นายบรรเจิด ตาธรรม (ผู้ใหญ่บ้าน) 6 บ้านม่วงใหม่พัฒนา นายสนั่น ก้อวงค์ (ผู้ใหญ่บ้าน) 4.ที่ตั้ง (แสดงที่ตั้งและระยะห่างจากอำเภอ) ตำบลนาปัง ตั้งอยู่ระหว่างเส้นแวง 100 องศา 45 ลิปดา 85 ฟิลิปดา ถึง 100 องศา 49 ลิปดา 03 ฟิลิปดา และเส้นรุ้ง 18 องศา 41 ลิปดา 55 ฟิลิปดา ซึ่งอยู่ฝั่งขวาของแม่น้ำน่าน และที่ราบลุ่มนี้มีความสูงจากระดับน้ำทะเลปานกลาง 200 – 250 เมตร ที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลนาปัง ตั้งอยู่บ้านก้อดแก้ว หมู่ที่ 4 ตำบลนาปัง อำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน ห่างจากที่ว่าการอำเภอภูเพียงไปทางทิศใต้ เป็นระยะทางประมาณ8 กิโลเมตร ไปตามถนน ร.พ.ช. นน.หมายเลข 11037 มีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่ใกล้เคียง ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ ตำบลท่าน้าวอำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน ทิศใต้ ติดต่อกับ ตำบลนาเหลืองอำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ตำบลน้ำแก่นอำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ตำบลกองควายอำเภอเมือง จังหวัดน่าน
ข้อมูลสภาพทั่วไป
องค์การบริหารส่วนตำบลนาปัง

1.เนื้อที่ ตำบลนาปัง มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 11.659 ตารางกิโลเมตร หรือ 7,287 ไร่ 2.ภูมิประเทศ ลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไปของตำบลนาปัง เป็นที่ราบลุ่มริมฝั่งแม่น้ำน่าน ลักษณะพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาด มีความลาดชันประมาณร้อยละ 2 – 5 ทางด้านตะวันออก และลดต่ำลงไปทางทิศตะวันตก ริมฝั่งแม่น้ำน่าน มีลำคลองธรรมชาติ คือ ลำห้วยน้ำแก่น ไหลผ่านตำบลทางทิศตะวันออกไปทิศตะวันตกลงสู่แม่น้ำน่าน การใช้ประโยชน์ที่ดินของตำบลนาปังกว่าร้อยละ 70 เป็นพื้นที่ทำการเกษตร ซึ่งส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ทำนา ทำไร่ ไม้ผล และพืชผัก ปลูกกระจายทางตอนเหนือและตอนกลางของพื้นที่ตำบล 3.จำนวนหมู่บ้าน ตำบลนาปัง ประกอบด้วย 6 หมู่บ้าน 3.1 จำนวนหมู่บ้านในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลนาปัง เต็มทั้งหมู่บ้านมี 6 หมู่บ้าน หมู่ที่ ชื่อหมู่บ้าน ผู้นำหมู่บ้าน ตำแหน่ง 1 บ้านน้ำลัด นายวิทูรย์ สิงห์ดี (ผู้ใหญ่บ้าน) 2 บ้านนาปัง นายสุพิน สีมาก (ผู้ใหญ่บ้าน) 3 บ้านม่วงใหม่ นายเดชา หลวงฤทธิ์ (ผู้ใหญ่บ้าน) 4 บ้านก้อดแก้ว นายเนียร หลวงฤทธิ์ (ผู้ใหญ่บ้าน) 5 บ้านสบแก่น นายบรรเจิด ตาธรรม (ผู้ใหญ่บ้าน) 6 บ้านม่วงใหม่พัฒนา นายสนั่น ก้อวงค์ (ผู้ใหญ่บ้าน) 4.ที่ตั้ง (แสดงที่ตั้งและระยะห่างจากอำเภอ) ตำบลนาปัง ตั้งอยู่ระหว่างเส้นแวง 100 องศา 45 ลิปดา 85 ฟิลิปดา ถึง 100 องศา 49 ลิปดา 03 ฟิลิปดา และเส้นรุ้ง 18 องศา 41 ลิปดา 55 ฟิลิปดา ซึ่งอยู่ฝั่งขวาของแม่น้ำน่าน และที่ราบลุ่มนี้มีความสูงจากระดับน้ำทะเลปานกลาง 200 – 250 เมตร ที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลนาปัง ตั้งอยู่บ้านก้อดแก้ว หมู่ที่ 4 ตำบลนาปัง อำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน ห่างจากที่ว่าการอำเภอภูเพียงไปทางทิศใต้ เป็นระยะทางประมาณ8 กิโลเมตร ไปตามถนน ร.พ.ช. นน.หมายเลข 11037 มีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่ใกล้เคียง ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ ตำบลท่าน้าวอำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน ทิศใต้ ติดต่อกับ ตำบลนาเหลืองอำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ตำบลน้ำแก่นอำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ตำบลกองควายอำเภอเมือง จังหวัดน่าน
info_outline วิสัยทัศน์/พันธกิจ
จุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น 1.การคมนาคมทางบกมีความสะดวก รวดเร็ว 2.ประชาชนมีอาชีพและรายได้พอเพียง 3.ช่องทางการรับรู้ข้อมูลข่าวสารที่ทันสมัยของประชนเพิ่มขึ้น 4.การสืบทอดศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญหาท้องถิ่นและวัฒนธรรมแบบดั้งเดิม 5.สถานที่พักผ่อนหย่อนใจมีความร่มรืนย์ เขียวขจีเพิ่มขึ้น 4. ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาในช่วง 4 ปี 4.1. ยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน – วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาการคมนาคม สาธารณูปโภค ให้สะดวก รวดเร็วและครอบคลุมทุกพื้นที่ – เป้าหมายถนน สะพาน ไฟฟ้าสาธารณะ ประปาหมู่บ้าน – แนวทางการพัฒนา 1. เส้นทางคมนาคมในตำบลให้ได้มาตรฐานและครอบคลุม และทั่วถึง 2. จัดหาและพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค 3. ระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการอย่างทั่วถึง 4.2. ยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ – วัตถุประสงค์ เพื่อยกระดับรายได้ให้แก่ครอบครัว – เป้าหมายประชาชนมีรายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีไม่น้อยกว่า 20,000 บาท – แนวทางการพัฒนา 1. จัดหาและพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร 2. ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพของประชาชนให้มีรายได้เพิ่มขึ้น โดยสร้างความเข้มแข็งให้แก่เศรษฐกิจชุมชน 3.ส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้าหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ และจัดให้มีสถานที่จำหน่ายสินค้า 4.ส่งเสริมและสนับสนุนเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรอินทรีย์ 2.3ยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ – วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน – เป้าหมายประชาชน เด็ก เยาวชน ผู้พิการ ผู้สูงอายุ สตรี – แนวทางการพัฒนา 1. สนับสนุนและส่งเสริมการจัดการศึกษา 2. สนับสนุนและส่งเสริมกิจการด้านสาธารณสุข 3. ส่งเสริมการจัดสวัสดิการ และนันทนาการแก่ประชาชน 4. สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต พัฒนาการให้ความรู้คู่คุณธรรมและจริยธรรม 5. สนับสนุนโภชนาการแก่เด็กก่อนปฐมวัยและปฐมศึกษา 6. สนับสนุนให้มีการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างต่อเนื่อง 7. สนับสนุน ส่งเสริมประชาคม และการมีส่วนร่วมของประชาชน 8. การพัฒนาความมั่นคงในการดำรงชีวิตของประชาชน 9. สนับสนุนและส่งเสริมสถาบันครอบครัวให้มีความเข้มแข็ง 4.4. ยุทธศาสตร์การพัฒนาศิลปะ วัฒนธรรมจารีตประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น – วัตถุประสงค์ เพื่อให้ประชาชนได้รับการศึกษาทุกระดับ เพื่อให้มีการอนุรักษ์พิธีกรรมทางศาสนาแบบดั้งเดิม – เป้าหมายเด็ก เยาวชน ประชาชน – แนวทางการพัฒนา 1. อนุรักษ์ ฟื้นฟู สนับสนุน ส่งเสริมและบูรณาการด้านศิลปวัฒนธรรมจารีตประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่น 2. แหล่งวัฒนธรรมศิลปวัตถุและโบราณสถานภายในตำบล 4.5. ยุทธศาสตร์การพัฒนาจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม – วัตถุประสงค์ เพื่ออนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม – เป้าหมายป่าชุมชน ขยะมูลฝอย แม่น้ำ ลำคลองตลิ่ง ท่อระบายน้ำ ดาดลำเหมือง – แนวทางการพัฒนา 1.ส่งเสริมและสนับสนุนเฝ้าระวังและฟื้นฟูธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2.สร้างจิตสำนึกส่งเสริมและพัฒนาระบบบำบัดน้ำเสีย และกำจัดขยะมูลฝอย 4.6. ยุทธศาสตร์การพัฒนาบริหารจัดการและการบริการ – วัตถุประสงค์ เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจด้านการเมืองการบริหารจัดการและการมีส่วนร่วมอย่างมีประสิทธิภาพ – เป้าหมาย 1) ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจการเมืองการบริหารจัดการไม่น้อยกว่าร้อยละ90 ของประชาชนทั้งหมด 2) ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการร่วมกับอปท. – แนวทางการพัฒนา 1. สนับสนุนให้มีการประสานงานการพัฒนาระหว่างอปท. และบูรณาการร่วมกับหน่วยงานอื่น 2. ส่งเสริมและสนับสนุนงานบรรเทาสาธารณภัยให้มีประสิทธิภาพ 3. พัฒนาองค์กรให้มีความเหมาะสมตามหลักบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 4. การมีส่วนร่วมในการเมือง การบริหาร และด้านบุคลากร 5. จัดหา วัสดุ ครุภัณฑ์ และเครื่องจักรกลที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงานเพื่อพัฒนาขีดความสามารถของอปท. ในการจัดบริการสาธารณะ
พันธกิจ1.จัดให้มีและบำรุงรักษาทางบก 2.บำรุงและส่งเสริมการประกอบอาชีพของประชาชน 3.ส่งเสริมการศึกษา 4.บำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น 5.คุ้มครอง ดูแล และบำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
วิสัยทัศน์ บริหารจัดการที่ดี มีส่วนร่วมพัฒนา ประชาชนเป็นสุข
วิสัยทัศน์/พันธกิจหน่วยงาน

วิสัยทัศน์

         บริหารจัดการที่ดี  มีส่วนร่วมพัฒนา  ประชาชนเป็นสุข

พันธกิจ

         1.จัดให้มีและบำรุงรักษาทางบก

         2.บำรุงและส่งเสริมการประกอบอาชีพของประชาชน

         3.ส่งเสริมการศึกษา

         4.บำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น

         5.คุ้มครอง ดูแล และบำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

จุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น

         1.การคมนาคมทางบกมีความสะดวก  รวดเร็ว

         2.ประชาชนมีอาชีพและรายได้พอเพียง

         3.ช่องทางการรับรู้ข้อมูลข่าวสารที่ทันสมัยของประชนเพิ่มขึ้น

         4.การสืบทอดศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญหาท้องถิ่นและวัฒนธรรมแบบดั้งเดิม

         5.สถานที่พักผ่อนหย่อนใจมีความร่มรืนย์ เขียวขจีเพิ่มขึ้น

4. ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาในช่วง 4  ปี

4.1.  ยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน

   – วัตถุประสงค์  เพื่อพัฒนาการคมนาคม  สาธารณูปโภค ให้สะดวก  รวดเร็วและครอบคลุมทุกพื้นที่

   – เป้าหมายถนน สะพาน  ไฟฟ้าสาธารณะ  ประปาหมู่บ้าน

   – แนวทางการพัฒนา

  1. เส้นทางคมนาคมในตำบลให้ได้มาตรฐานและครอบคลุม และทั่วถึง

  2. จัดหาและพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค

  3. ระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการอย่างทั่วถึง

4.2.  ยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์

   – วัตถุประสงค์  เพื่อยกระดับรายได้ให้แก่ครอบครัว

   – เป้าหมายประชาชนมีรายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีไม่น้อยกว่า  20,000 บาท

   – แนวทางการพัฒนา

  1. จัดหาและพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร

  2. ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพของประชาชนให้มีรายได้เพิ่มขึ้น โดยสร้างความเข้มแข็งให้แก่เศรษฐกิจชุมชน

3.ส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้าหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ และจัดให้มีสถานที่จำหน่ายสินค้า

4.ส่งเสริมและสนับสนุนเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรอินทรีย์

2.3ยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์

    – วัตถุประสงค์   เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน

    – เป้าหมายประชาชน  เด็ก  เยาวชน  ผู้พิการ  ผู้สูงอายุ  สตรี

    – แนวทางการพัฒนา

  1. สนับสนุนและส่งเสริมการจัดการศึกษา

  2. สนับสนุนและส่งเสริมกิจการด้านสาธารณสุข

  3. ส่งเสริมการจัดสวัสดิการ และนันทนาการแก่ประชาชน

  4. สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต  พัฒนาการให้ความรู้คู่คุณธรรมและจริยธรรม

  5. สนับสนุนโภชนาการแก่เด็กก่อนปฐมวัยและปฐมศึกษา

  6. สนับสนุนให้มีการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างต่อเนื่อง

  7. สนับสนุน ส่งเสริมประชาคม และการมีส่วนร่วมของประชาชน

  8. การพัฒนาความมั่นคงในการดำรงชีวิตของประชาชน

  9. สนับสนุนและส่งเสริมสถาบันครอบครัวให้มีความเข้มแข็ง

 4.4.  ยุทธศาสตร์การพัฒนาศิลปะ วัฒนธรรมจารีตประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น

   –  วัตถุประสงค์      เพื่อให้ประชาชนได้รับการศึกษาทุกระดับ  เพื่อให้มีการอนุรักษ์พิธีกรรมทางศาสนาแบบดั้งเดิม

   –  เป้าหมายเด็ก  เยาวชน  ประชาชน

   –  แนวทางการพัฒนา

  1. อนุรักษ์ ฟื้นฟู  สนับสนุน ส่งเสริมและบูรณาการด้านศิลปวัฒนธรรมจารีตประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่น

  2. แหล่งวัฒนธรรมศิลปวัตถุและโบราณสถานภายในตำบล

4.5.  ยุทธศาสตร์การพัฒนาจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

   –  วัตถุประสงค์      เพื่ออนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

   –  เป้าหมายป่าชุมชน  ขยะมูลฝอย  แม่น้ำ  ลำคลองตลิ่ง ท่อระบายน้ำ   ดาดลำเหมือง

   –  แนวทางการพัฒนา

    1.ส่งเสริมและสนับสนุนเฝ้าระวังและฟื้นฟูธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

    2.สร้างจิตสำนึกส่งเสริมและพัฒนาระบบบำบัดน้ำเสีย และกำจัดขยะมูลฝอย

4.6.  ยุทธศาสตร์การพัฒนาบริหารจัดการและการบริการ

   –  วัตถุประสงค์   เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจด้านการเมืองการบริหารจัดการและการมีส่วนร่วมอย่างมีประสิทธิภาพ

   –  เป้าหมาย

       1) ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจการเมืองการบริหารจัดการไม่น้อยกว่าร้อยละ90 ของประชาชนทั้งหมด

       2) ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการร่วมกับอปท.

   – แนวทางการพัฒนา

  1. สนับสนุนให้มีการประสานงานการพัฒนาระหว่างอปท. และบูรณาการร่วมกับหน่วยงานอื่น

  2. ส่งเสริมและสนับสนุนงานบรรเทาสาธารณภัยให้มีประสิทธิภาพ

  3. พัฒนาองค์กรให้มีความเหมาะสมตามหลักบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

  4. การมีส่วนร่วมในการเมือง การบริหาร และด้านบุคลากร

  5. จัดหา วัสดุ  ครุภัณฑ์ และเครื่องจักรกลที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงานเพื่อพัฒนาขีดความสามารถของอปท. ในการจัดบริการสาธารณะ

วิสัยทัศน์/พันธกิจ
จุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น

1.การคมนาคมทางบกมีความสะดวก รวดเร็ว 2.ประชาชนมีอาชีพและรายได้พอเพียง 3.ช่องทางการรับรู้ข้อมูลข่าวสารที่ทันสมัยของประชนเพิ่มขึ้น 4.การสืบทอดศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญหาท้องถิ่นและวัฒนธรรมแบบดั้งเดิม 5.สถานที่พักผ่อนหย่อนใจมีความร่มรืนย์ เขียวขจีเพิ่มขึ้น 4. ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาในช่วง 4 ปี 4.1. ยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน – วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาการคมนาคม สาธารณูปโภค ให้สะดวก รวดเร็วและครอบคลุมทุกพื้นที่ – เป้าหมายถนน สะพาน ไฟฟ้าสาธารณะ ประปาหมู่บ้าน – แนวทางการพัฒนา 1. เส้นทางคมนาคมในตำบลให้ได้มาตรฐานและครอบคลุม และทั่วถึง 2. จัดหาและพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค 3. ระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการอย่างทั่วถึง 4.2. ยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ – วัตถุประสงค์ เพื่อยกระดับรายได้ให้แก่ครอบครัว – เป้าหมายประชาชนมีรายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีไม่น้อยกว่า 20,000 บาท – แนวทางการพัฒนา 1. จัดหาและพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร 2. ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพของประชาชนให้มีรายได้เพิ่มขึ้น โดยสร้างความเข้มแข็งให้แก่เศรษฐกิจชุมชน 3.ส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้าหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ และจัดให้มีสถานที่จำหน่ายสินค้า 4.ส่งเสริมและสนับสนุนเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรอินทรีย์ 2.3ยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ – วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน – เป้าหมายประชาชน เด็ก เยาวชน ผู้พิการ ผู้สูงอายุ สตรี – แนวทางการพัฒนา 1. สนับสนุนและส่งเสริมการจัดการศึกษา 2. สนับสนุนและส่งเสริมกิจการด้านสาธารณสุข 3. ส่งเสริมการจัดสวัสดิการ และนันทนาการแก่ประชาชน 4. สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต พัฒนาการให้ความรู้คู่คุณธรรมและจริยธรรม 5. สนับสนุนโภชนาการแก่เด็กก่อนปฐมวัยและปฐมศึกษา 6. สนับสนุนให้มีการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างต่อเนื่อง 7. สนับสนุน ส่งเสริมประชาคม และการมีส่วนร่วมของประชาชน 8. การพัฒนาความมั่นคงในการดำรงชีวิตของประชาชน 9. สนับสนุนและส่งเสริมสถาบันครอบครัวให้มีความเข้มแข็ง 4.4. ยุทธศาสตร์การพัฒนาศิลปะ วัฒนธรรมจารีตประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น – วัตถุประสงค์ เพื่อให้ประชาชนได้รับการศึกษาทุกระดับ เพื่อให้มีการอนุรักษ์พิธีกรรมทางศาสนาแบบดั้งเดิม – เป้าหมายเด็ก เยาวชน ประชาชน – แนวทางการพัฒนา 1. อนุรักษ์ ฟื้นฟู สนับสนุน ส่งเสริมและบูรณาการด้านศิลปวัฒนธรรมจารีตประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่น 2. แหล่งวัฒนธรรมศิลปวัตถุและโบราณสถานภายในตำบล 4.5. ยุทธศาสตร์การพัฒนาจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม – วัตถุประสงค์ เพื่ออนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม – เป้าหมายป่าชุมชน ขยะมูลฝอย แม่น้ำ ลำคลองตลิ่ง ท่อระบายน้ำ ดาดลำเหมือง – แนวทางการพัฒนา 1.ส่งเสริมและสนับสนุนเฝ้าระวังและฟื้นฟูธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2.สร้างจิตสำนึกส่งเสริมและพัฒนาระบบบำบัดน้ำเสีย และกำจัดขยะมูลฝอย 4.6. ยุทธศาสตร์การพัฒนาบริหารจัดการและการบริการ – วัตถุประสงค์ เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจด้านการเมืองการบริหารจัดการและการมีส่วนร่วมอย่างมีประสิทธิภาพ – เป้าหมาย 1) ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจการเมืองการบริหารจัดการไม่น้อยกว่าร้อยละ90 ของประชาชนทั้งหมด 2) ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการร่วมกับอปท. – แนวทางการพัฒนา 1. สนับสนุนให้มีการประสานงานการพัฒนาระหว่างอปท. และบูรณาการร่วมกับหน่วยงานอื่น 2. ส่งเสริมและสนับสนุนงานบรรเทาสาธารณภัยให้มีประสิทธิภาพ 3. พัฒนาองค์กรให้มีความเหมาะสมตามหลักบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 4. การมีส่วนร่วมในการเมือง การบริหาร และด้านบุคลากร 5. จัดหา วัสดุ ครุภัณฑ์ และเครื่องจักรกลที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงานเพื่อพัฒนาขีดความสามารถของอปท. ในการจัดบริการสาธารณะ
พันธกิจ

1.จัดให้มีและบำรุงรักษาทางบก 2.บำรุงและส่งเสริมการประกอบอาชีพของประชาชน 3.ส่งเสริมการศึกษา 4.บำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น 5.คุ้มครอง ดูแล และบำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
วิสัยทัศน์

บริหารจัดการที่ดี มีส่วนร่วมพัฒนา ประชาชนเป็นสุข
วิสัยทัศน์/พันธกิจหน่วยงาน

วิสัยทัศน์

         บริหารจัดการที่ดี  มีส่วนร่วมพัฒนา  ประชาชนเป็นสุข

พันธกิจ

         1.จัดให้มีและบำรุงรักษาทางบก

         2.บำรุงและส่งเสริมการประกอบอาชีพของประชาชน

         3.ส่งเสริมการศึกษา

         4.บำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น

         5.คุ้มครอง ดูแล และบำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

จุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น

         1.การคมนาคมทางบกมีความสะดวก  รวดเร็ว

         2.ประชาชนมีอาชีพและรายได้พอเพียง

         3.ช่องทางการรับรู้ข้อมูลข่าวสารที่ทันสมัยของประชนเพิ่มขึ้น

         4.การสืบทอดศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญหาท้องถิ่นและวัฒนธรรมแบบดั้งเดิม

         5.สถานที่พักผ่อนหย่อนใจมีความร่มรืนย์ เขียวขจีเพิ่มขึ้น

4. ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาในช่วง 4  ปี

4.1.  ยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน

   – วัตถุประสงค์  เพื่อพัฒนาการคมนาคม  สาธารณูปโภค ให้สะดวก  รวดเร็วและครอบคลุมทุกพื้นที่

   – เป้าหมายถนน สะพาน  ไฟฟ้าสาธารณะ  ประปาหมู่บ้าน

   – แนวทางการพัฒนา

  1. เส้นทางคมนาคมในตำบลให้ได้มาตรฐานและครอบคลุม และทั่วถึง

  2. จัดหาและพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค

  3. ระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการอย่างทั่วถึง

4.2.  ยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์

   – วัตถุประสงค์  เพื่อยกระดับรายได้ให้แก่ครอบครัว

   – เป้าหมายประชาชนมีรายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีไม่น้อยกว่า  20,000 บาท

   – แนวทางการพัฒนา

  1. จัดหาและพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร

  2. ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพของประชาชนให้มีรายได้เพิ่มขึ้น โดยสร้างความเข้มแข็งให้แก่เศรษฐกิจชุมชน

3.ส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้าหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ และจัดให้มีสถานที่จำหน่ายสินค้า

4.ส่งเสริมและสนับสนุนเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรอินทรีย์

2.3ยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์

    – วัตถุประสงค์   เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน

    – เป้าหมายประชาชน  เด็ก  เยาวชน  ผู้พิการ  ผู้สูงอายุ  สตรี

    – แนวทางการพัฒนา

  1. สนับสนุนและส่งเสริมการจัดการศึกษา

  2. สนับสนุนและส่งเสริมกิจการด้านสาธารณสุข

  3. ส่งเสริมการจัดสวัสดิการ และนันทนาการแก่ประชาชน

  4. สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต  พัฒนาการให้ความรู้คู่คุณธรรมและจริยธรรม

  5. สนับสนุนโภชนาการแก่เด็กก่อนปฐมวัยและปฐมศึกษา

  6. สนับสนุนให้มีการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างต่อเนื่อง

  7. สนับสนุน ส่งเสริมประชาคม และการมีส่วนร่วมของประชาชน

  8. การพัฒนาความมั่นคงในการดำรงชีวิตของประชาชน

  9. สนับสนุนและส่งเสริมสถาบันครอบครัวให้มีความเข้มแข็ง

 4.4.  ยุทธศาสตร์การพัฒนาศิลปะ วัฒนธรรมจารีตประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น

   –  วัตถุประสงค์      เพื่อให้ประชาชนได้รับการศึกษาทุกระดับ  เพื่อให้มีการอนุรักษ์พิธีกรรมทางศาสนาแบบดั้งเดิม

   –  เป้าหมายเด็ก  เยาวชน  ประชาชน

   –  แนวทางการพัฒนา

  1. อนุรักษ์ ฟื้นฟู  สนับสนุน ส่งเสริมและบูรณาการด้านศิลปวัฒนธรรมจารีตประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่น

  2. แหล่งวัฒนธรรมศิลปวัตถุและโบราณสถานภายในตำบล

4.5.  ยุทธศาสตร์การพัฒนาจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

   –  วัตถุประสงค์      เพื่ออนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

   –  เป้าหมายป่าชุมชน  ขยะมูลฝอย  แม่น้ำ  ลำคลองตลิ่ง ท่อระบายน้ำ   ดาดลำเหมือง

   –  แนวทางการพัฒนา

    1.ส่งเสริมและสนับสนุนเฝ้าระวังและฟื้นฟูธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

    2.สร้างจิตสำนึกส่งเสริมและพัฒนาระบบบำบัดน้ำเสีย และกำจัดขยะมูลฝอย

4.6.  ยุทธศาสตร์การพัฒนาบริหารจัดการและการบริการ

   –  วัตถุประสงค์   เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจด้านการเมืองการบริหารจัดการและการมีส่วนร่วมอย่างมีประสิทธิภาพ

   –  เป้าหมาย

       1) ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจการเมืองการบริหารจัดการไม่น้อยกว่าร้อยละ90 ของประชาชนทั้งหมด

       2) ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการร่วมกับอปท.

   – แนวทางการพัฒนา

  1. สนับสนุนให้มีการประสานงานการพัฒนาระหว่างอปท. และบูรณาการร่วมกับหน่วยงานอื่น

  2. ส่งเสริมและสนับสนุนงานบรรเทาสาธารณภัยให้มีประสิทธิภาพ

  3. พัฒนาองค์กรให้มีความเหมาะสมตามหลักบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

  4. การมีส่วนร่วมในการเมือง การบริหาร และด้านบุคลากร

  5. จัดหา วัสดุ  ครุภัณฑ์ และเครื่องจักรกลที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงานเพื่อพัฒนาขีดความสามารถของอปท. ในการจัดบริการสาธารณะ

check_circle สถานที่ท่องเที่ยว
2.หอธรรมวัดนาปังรอปรับปรุง
1.พิพิธภัณฑ์บ้านนาปังรอปรับปรุง
สถานที่ท่องเที่ยว ที่น่าสนใจรอปรับปรุง
สถานที่ท่องเที่ยว ที่น่าสนใจ

1.พิพิธภัณฑ์บ้านนาปัง

2.หอธรรมวัดนาปัง

สถานที่ท่องเที่ยว
2.หอธรรมวัดนาปัง

รอปรับปรุง
1.พิพิธภัณฑ์บ้านนาปัง

รอปรับปรุง
สถานที่ท่องเที่ยว ที่น่าสนใจ

รอปรับปรุง
สถานที่ท่องเที่ยว ที่น่าสนใจ

1.พิพิธภัณฑ์บ้านนาปัง

2.หอธรรมวัดนาปัง